Category Archives: ทฤษฎีเสียง

dB scale เรื่องยากที่เข้าใจได้ง่าย ๆ

dB scale dB scale กลายเป็นเรื่องที่หลายคนมองว่าไม่มีส่วนสำคัญในระบบเสียงแต่ก็ยังมีอีกหลายคนที่มองเห็นความสำคัญของ ระบบ แต่อาจจะยังไม่เข้าใจ และยังไม่สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และในหลาย ๆ ครั้ง การใช้งานอุปกรณ์เสียง หรือระบบเครื่องเช่า จำเป็นต่อใช้งานร่วมกับวงของศิลปินหลาย ๆ

รูปแบบของสัญญาณ และสายสัญญาณ

รูปแบบของสัญญาณ และสายสัญญาณ รูปแบบของสัญญาณ และสายสัญญาณ มีคำถามที่มากมายที่เกี่ยวกับสายสัญญาณ และ รูปแบบของสัญญาณ ในระบบเสียง บางท่านยังเข้าใจผิด และ ยังสับสนอยู่ วันนี้เราจะมาทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องสายสัญญาณ และ รูปแบบของสัญญาณ กันนะครับ

การแบ่ง “ชนิดของคลื่น”

Wave การแบ่ง “ชนิดของคลื่น” นั้น สามารถแบ่งออกได้  3 แบบ Wave แบ่ง “ชนิดของคลื่น” ตามการเคลื่อนที่ของคลื่น และการสั่นของอนุภาคตัวกลาง แบ่ง “ชนิดของคลื่น” ตามการอาศัยตัวกลาง

อิมพิแดนซ์ของการต่อลำโพง

Speaker connection impedance speaker connection impedance อิมพิแดนซ์ของการต่อลำโพง คำถามที่พบบ่อยในวงการเครื่องเสียงของผู้ที่เริ่มหัดเล่นเครื่องเสียงเกี่ยวกับการต่อลำโพง “พ่วงลำโพง 2 ตู้เท่ากับกี่โอห์ม”, “ต่อแบบนี้ได้กี่โอห์ม” วันนี้เราจึงจะมาอธิบายเรื่องการการต่อพ่วงลำโพง อันดับแรกเรามารู้จักกับคำว่า อิมพิแดนซ์ก่อน

แอมป์ตัวนี้ ขับดอกลำโพง “18นิ้ว” ได้ “กี่ดอก”

แอมป์ตัวนี้ ขับดอกลำโพง “18นิ้ว” ได้ “กี่ดอก” อาจเป็นคำถามยอดนิยม ที่เอาไว้ “คาดคะเน” เท่านั้น           แอมป์ตัวนี้ ขับดอกลำโพง

Proximity effect เรื่องของไมค์ที่ทุกคนต้องรู้

Proximity effect เรื่องของไมค์ที่ทุกคนต้องรู้      Proximity Effect ไมโครโฟน (ผลกระทบของความใกล้ชิด) เป็นพฤติกรรมของเสียงรูปแบบหนึ่ง เมื่อระยะห่างของไมโครโฟนกับแหล่งกำเนิดเสียงต่างๆกัน ความถี่เสียงที่ตอบสนองจะต่างกัน โดยปกติเมื่อเรานำไมโครโฟนเข้าใกล้ปากเสียงก็จะดังขึ้น โดยโทนเสียงไม่เปลี่ยน ต่างกันที่ความดังแต่ Proximity

HPF (High Pass Filter) และ LPF (Low Pass Filter)

HPF และ LPF จากบทความที่แล้วที่ได้พูดถึง HPF (High Pass Filter) และ LPF (Low Pass Filter) ไป ว่าคืออะไร

4 Filter ที่ควรรู้ที่ใช้ในงานมิกซ์เสียง

4 Filter ที่ควรรู้ที่ใช้ในงานมิกซ์เสียง 4 Filter ที่ควรรู้ที่ใช้ในงานมิกซ์เสียง ในการทำงานด้านการมิกซ์เสียง คงจะหนีไม่พ้นการใช้ Filter อย่างแน่นอน แล้ว Filter คืออะไร ถ้าแปลตรงตัวเลย Filter

ไมค์ อัดเสียง หรือ ไมโครโฟนคอนเดนเซอร์ เข้าใจได้ ไม่ยาก 2020

ไมค์ อัดเสียง หรือ ไมโครโฟน คอนเดนเซอร์ ไมโครโฟนคอนเดนเซอร์เป็นหนึ่งในตัวเลือก ไมโครโฟน ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดสำหรับในสตูดิโอ เนื่องจากตอบสนองต่อเสียงได้ดีและเที่ยงตรง โดยทั่วไปแล้ว ไมโครโฟน คอนเดนเซอร์ซึ่งตอบสนองความถี่ได้กว้างกว่า ไมโครโฟน ตระกูลไดนามิก ไมค์คอนเดนเซอร์จึงได้รับความนิยมใช้เป็น

ไมค์อัดเสียง ชนิดริบบอน กับ ไมโครโฟน ไดนามิก ต่างกันอย่างไร

ไมค์อัดเสียง ริบบอน เป็น ไมโครโฟน ไดนามิก รูปแบบหนึ่ง เพราะมีหลักการทำงานแบบเดียวกัน แต่วันนี้เราจะมาดูข้อแตกต่างระหว่าง ไมโครโฟน ริบบอน กับ ไมโครโฟน ไดนามิกธรรมดากันครับ เลือกอ่านตามหัวข้อ วัสดุ

5 ทริค ที่ควรรู้ในการวางลำโพงสตูดิโอมอนิเตอร์

Studio monitor speaker placement Studio monitor speaker placement 5 ทริค ที่ควรรู้ในการวางลำโพงสตูดิโอมอนิเตอร์ 1.ความสมมาตรเป็นสิ่งที่ดี ถ้าคุณกำลังฟังเสียงจากลำโพงในห้อง แล้วห้องส่งผลต่อการได้ยินของคุณ เมื่อฟังเสียงสเตอริโอในห้องที่มีรูปร่างแตกต่างกันอาจส่งผลกระทบอย่างมากต่อเสียงที่มาจากลำโพงฝั่งซ้าย

การ Fix Gain เรื่องสำคัญไม่ใช่แค่ “ความดัง”

การ Fix Gain เรื่องสำคัญไม่ใช่แค่ “ความดัง” ทำความเข้าใจเรื่อง Gain ในระบบเสียง – เคยไหม? ถ้ากำหนดให้ค่าระดับสัญญาณที่ครอสโอเวอร์ หรือที่มิกซ์เป็น 0 dB โดยตั้ง

มารู้จักกับ Polar pattern รูปแบบการรับเสียงของไมโครโฟน กัน!!

Polar pattern Polar pattern หรือในอีกชื่อ Directional Characteristics หมายถึง  ความสามารถในการรับเสียงของไมค์จากทิศทางต่างๆ หรือเรียกได้ว่า เป็นมุมรับสัญญาณของ ไมโครโฟน ที่จะตอบสนองต่อเสียงที่เข้ามา ตามค่าความแรงของสัญญาณ ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องรู้และเข้าใจเพื่อที่จะวางไมค์ในตำแหน่งที่ถูกต้องและเหมาะสมกับลักษณะของไมค์แต่ละตัว

Limiter Speaker

Limiter Speaker Limiter Speaker ป้องกันลำโพงขาดแบ่งออกเป็นกี่ชนิด ลิมิเตอร์มีหน้าที่ป้องกันไม่ให้ลำโพงขาด แต่การเซ็ตค่าลิมิตเตอร์บางครั้งให้เสียงที่ไม่เป็นธรรมชาติ หรือดังไม่สุดได้ ทำให้ฟังแล้วรู้สึกอึดอัด หรือถ้าตั้งสูงไป ก็ทำให้ลำโพงขาดอยู่ดี อาการเหล่านี้ สามารถป้องกันได้ด้วยการใช้ Limiter ให้ถูกชนิดและตั้งค่าให้ถูกวิธี

มาทำความรู้จักย่านความถี่แต่ละย่านกัน

4. ย่าน กลาง ครอบคลุมความถี่เสียง 500 ถึง 2 kHz ชื่อเรียกอื่นๆ : ย่านมิด ย่านมิดเรนจ์ เป็นย่านความถี่ที่มีในเสียงเครื่องดนตรีเกือบทุกชนิด ถ้ามีการบูสย่านความถี่่นี้มากเกินไปอาจจะทำให้เสียงเครื่องดนตรีฟังดูแข็งกระด้างได้ ่และจะต้องระมัดระวังเป็นพิเศษกับเสียงร้องเพราะถ้าเกิดมีย่านความถี่ในช่วงนี้มากเกินไปก็อาจจะทำให้เสียงร้องฟังดูขึ้นจมูก