Category Archives: เกร็ดความรู้

Podcast เริ่มต้นอย่างไร ? ต้องมีอะไรบ้าง

อยากทำพอดแคสต์ เริ่มต้นยังไงดี..? Podcast | รายการพอดแคสต์ได้กลายเป็นหนึ่งในคอนเทนต์ที่ทั้งให้ความรู้ มุมมอง และความบันเทิงที่โดดเด่นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา รายการพอดแคสต์สามารถสร้างแรงบันดาลใจ สร้างทัศนคติ และมุมมองข้อคิดให้แก่ผู้ติดตามอย่างเราได้เป็นอย่างดี หากคุณมีความคิดอยากจะเริ่มสร้างพอดแคสต์เป็นของตัวเอง แต่ไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นยังไง บทความนี้จะเป็นการแนะนำรายละเอียดเริ่มต้นตั้งแต่พื้นฐาน และอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องมีสำหรับการทำพอดแคสต์ เพื่อเป็นแนวทางให้กับทุกท่านได้ไม่มากก็น้อยครับ

Auto Gain ฟังก์ชั่นเด็ด ! บนมิกซ์ดิจิตอล

ฟังก์ชั่น “ออโต้เกน” บนดิจิตอลมิกเซอร์ Auto Gain เป็นฟังก์ชั่นหนึ่งบนดิจิตอลมิกเซอร์ ที่จะช่วยให้มือซาวด์ทำงานได้อย่างง่ายดาย และสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะกับงานที่ต้องใช้ไมโครโฟนจำนวนหลาย ๆ ตัวพร้อมกัน ช่วยให้มือซาวด์ไม่จำเป็นต้องคอยจับเฟดเดอร์ตลอดเวลา ถือว่าเป็นฟังก์ชั่นที่มีมีประโยชน์อย่างมากในการมิกซ์ คุณไม่จำเป็นต้องเป็นมือซาวด์ระดับโปร ก็สามารถทำงานบนมิกซ์ดิจิตอลได้

Input Routing บนดิจิตอลมิกเซอร์ ทำงานอย่างไร

Input Routing บนดิจิตอลมิกเซอร์ หรือบางผู้ผลิตจะเรียกว่า Input Patching เป็นการกำหนดเส้นทางสัญญาณอินพุต ไปยังช่องสัญญาณที่ต้องการบนดิจิตอลมิกเซอร์ เพื่อการประมวลผล

TRIM คืออะไร..? ต่างกับ Gain อย่างไร

ปุ่ม TRIM คืออะไร..? TRIM ปุ่มนี้บนอุปกรณ์มิกเซอร์ คืออะไร..? มีหน้าที่วัตถุประสงค์ และใช้งานอย่างไร..? บนอุปกรณ์มิกเซอร์บางรุ่น บางยี่ห้อ เราอาจจะพบปุ่มนี้ได้อยู่บ่อย ๆ และในบทความนี้ เราจะมาทำความเข้าใจกันว่า ปุ่ม

ระบบเสียงกลางแจ้ง ติดตั้งอย่างไรให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด

ระบบเสียงกลางแจ้ง | การติดตั้งระบบเสียงกลางแจ้งให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด เป็นกระบวนการที่มีความสำคัญ ในการสร้างประสบการณ์การฟังที่ดีให้กับผู้ชม

คลื่นความถี่เสียง (Sound Frequency) มีผลอย่างไรในชีวิตประจำวัน

คลื่นความถี่เสียง เป็นองค์ประกอบสำคัญ ที่มีผลต่อระบบโสตประสาทการรับรู้ของเรา ทุกวันในโลกที่เต็มไปด้วยเสียงต่าง ๆ ตั้งแต่เสียงเพลงที่เราฟังจากสื่อ Multimedia

ลำโพงเสีย ปัญหามีอะไรบ้าง และวิธีแก้ไขเบื้องต้น

ปัญหาที่บ่งบอกลำโพงทำงานไม่เต็มประสิทธิภาพ  ลำโพงเสีย หรือทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพนั้นเกิดขึ้นได้หลายสาเหตุ บางปัญหาเราสามารถแก้ไขได้ด้วยตนเอง แต่บางปัญหาเราก็อาจจำเป็นต้องถึงมือผู้เชี่ยวชาญ ขึ้นอยู่กับความหนักเบา และความซับซ้อนของปัญหา บทความนี้เราจะมาดูกันว่า มีสาเหตุใดบ้างที่ทำให้ลำโพงทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ และวิธีแก้ไขเบื้องต้นด้วยตนเอง 1.) ไม่มีเสียง หรือเสียงมีคุณภาพต่ำ สาเหตุที่เป็นไปได้ :

การตั้งสายกีตาร์ ทำไม..? ต้องอ้างอิงที่ 440Hz

การตั้งสายเครื่องดนตรี ทำไม..? ต้องอ้างอิงที่ 440Hz การตั้งสายกีตาร์ เบส หรือเครื่องสายอื่น ๆ บนความถี่มาตรฐานโน๊ต A ใน Octave ที่ 4 เป็นเรื่องที่ถกเถียงกันมาอย่างยาวนานในหมู่นักดนตรี

หู และการได้ยินของมนุษย์ ทำไมได้ยินแค่ 20Hz – 20kHz ?

ความสามารถการได้ยินเสียง “หู” ของคนเรา.. มีความสามารถในการได้ยินเสียง ในช่วงความถี่ประมาณ 20Hz – 20kHz เพราะเป็นช่วงความถี่ ที่มีความหลากหลายของเสียง ที่เกิดขึ้นในสิ่งแวดล้อมรอบตัวเรา เป็นช่วงความถี่ที่เรียกว่า “โซนิค” (Sonic) การจำกัดความถี่ที่ได้ยินเป็นลักษณะซับซ้อน

Home Studio เริ่มต้นง่าย ๆ ด้วยตัวเอง

เริ่มต้น ! ทำ Home Studio ง่าย ๆ ด้วยตัวเอง Home Studio | ในปัจจุบัน.. การทำโฮมสตูดิโอของตัวเองใช้เงินทุนน้อยลงกว่ามาก เมื่อเทียบกับช่วงสิบกว่าปีที่ผ่านมา ไม่เพียงแต่สำหรับ

Compressor และ Limiter ต่างกันอย่างไร ?

คอมเพรสเซอร์ VS ลิมิตเตอร์ Compressor และ Limiter ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบของ Plug-In หรืออุปกรณ์ DSP ในระบบเสียงกลางแจ้ง ต่างก็มีหน้าที่ในการจัดการเรื่องไดนามิกของเสียง เพื่อจัดการไดนามิกของเสียงให้มีความนิ่ง และไพเราะมากยิ่งขึ้น โดยการกด

สายสัญญาณ และการเชื่อมต่อในระบบเสียง

Audio Cables & Connection สายสัญญาณ และการเชื่อมต่อในระบบเสียง | ด้วยประเภทของสายสัญญาณต่าง ๆ ที่มีอยู่มากมาย จึงไม่ใช่เรื่องง่ายเสมอไปที่จะฟันธงว่า “สายสัญญาณประเภทใด คือ สายสัญญาณ ที่ดีที่สุด”

ทำความรู้จัก “ไฟ LED” ในระบบแสงสีบนเวที

LED Lighting ในระบบแสงสีบนเวที ไฟ LED หรือย่อมาจาก “Light Emitting Diode” ถูกประดิษฐ์ขึ้นในช่วงปี ค.ศ.1960 ซึ่งในตอนแรกยังเป็นไฟที่ให้แสงสว่างเพียงเล็กน้อยเท่านั้น แต่ในปัจจุบันแทบจะไม่มีเวทีไหนเลย ที่จะไม่มีไฟ LED

สิ่งที่ควรรู้ !! เกี่ยวกับ “ไฟเวที” (Stage Lighting)

ไฟเวที (Stage Lighting) กับสิ่งที่คุณควรรู้ !! ไฟเวที (Stage Lighting) | เช่นเดียวกับเสียง ที่ประกอบไปด้วยคลื่นความถี่ที่เราสามารถรับรู้ได้ด้วยหู ในขณะที่แสงไฟ “Light” ก็เป็นเพียงความยาวคลื่นความถี่สูง ที่เราสามารถตีความ

มิกเซอร์อนาล็อกหรือดิจิตอล ที่เหมาะกับคุณ?

มิกเซอร์อนาล็อกหรือดิจิตอล ที่เหมาะกับคุณ? มิกเซอร์อนาล็อกหรือดิจิตอล ไม่ว่าจะเป็นมิกเซอร์แบบไหน สิ่งที่เหมือนกันคือ การรับสัญญาณเสียงจากหลาย ๆ แหล่งรวมเข้าไว้ด้วยกัน ยกตัวอย่างเช่น สัญญาณเสียงจากไมโครโฟน เครื่องดนตรี เครื่องเล่นเพลง คอมพิวเตอร์ เป็นต้น แล้วส่งสัญญาณไปยังอุปกรณ์ต่าง